การติดตั้ง PC-Cillin 2000 โปรแกรมสำหรับป้องกันไวรัสบน คอมพิวเตอร์
จากที่ได้ทำการแนะนำ การติดตั้ง McAfee โปรแกรมสำหรับการป้องกันไวรัสบน คอมพิวเตอร์ ไปแล้ว ซึ่งจากการใช้งานทั่ว ๆ ไป ตัวโปรแกรม McAfee ก็สามารถทำงานได้ดีในระดับหนึ่ง แต่เมื่อได้ทำการทดลองใช้งาน โปรแกรม PC-Cillin 2000 ในการป้องกันไวรัส คอมพิวเตอร์ต่าง ๆ พบว่า ตัวโปรแกรม PC-Cillin นี้ มีข้อดีกว่า McAfee คือ เป็นโปรแกรมป้องกันไวรัสที่ ไม่ไปโหลดการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์มากนัก ไม่ทำให้เครื่องช้าลง และการอัพเดตข้อมูลไวรัส ทำได้ง่ายและรวดเร็วกว่ามาก และที่สำคัญ สามารถทำการตรวจสอบไวรัสที่มีมากับอีเมล์ได้ด้วย ดังนั้น ตรงนี้จึงขอเสนอและแนะนำการติดตั้ง PC-Cillin 2000 โปรแกรมป้องกันไวรัส อีกตัวหนึ่งที่น่าจะทดลองใช้งานกันครับ ข้อมูลเพิ่มเติมของโปรแกรมนี้ สามารถหาได้จาก http://www.antivirus.com/
เริ่มต้นจากการหา ดาวน์โหลด PC-Cillin 2000 มาก่อน และเริ่มต้นขั้นตอนการติดตั้ง โดยการคลิกเปิดไฟล์ pcc2k.exe เพื่อเริ่มขั้นตอนการติดตั้ง ตามตัวอย่างในรูป
หลังจากเรียกไฟล์สำหรับทำการติดตั้ง จะได้หน้าจอตามภาพ กดที่ปุ่ม Next เพื่อทำการติดตั้งต่อไป
จะได้หน้าจอตามภาพด้านบน กดที่ปุ่ม Yes เพื่อทำการติดตั้งต่อไป
โปรแกรมจะทำการตรวจสอบและค้นหาไวรัส ที่อาจจะมีอยู่ในเครื่องก่อน ให้รอสักครู่ จนเสร็จขั้นตอนนี้
หลังจากที่โปรแกรมทำการตรวจสอบว่าเครื่องไม่มีไวรัสแล้ว ให้กดที่ปุ่ม OK เพื่อทำการติดตั้งต่อไป
จะได้หน้าจอตามภาพด้านบน ใส่ชื่อและ Serial No. ของโปรแกรม (code ใส่ตามตัวอย่างในภาพด้านบนก็ได้) กดที่ปุ่ม Next เพื่อทำการติดตั้งต่อไป
จะได้หน้าจอตามภาพด้านบน เลือก Folder ที่จะลงโปรแกรม ถ้าไม่เลือกก็กดที่ปุ่ม Next เพื่อทำการติดตั้งต่อไป
จะได้หน้าจอตามภาพด้านบน กดที่ปุ่ม Next เพื่อทำการติดตั้งต่อไป
เลือกส่วนประกอบต่าง ๆ ที่ต้องการติดตั้ง ขอแนะนำให้เลือกทั้งหมด กดที่ปุ่ม Next เพื่อทำการติดตั้งต่อไป
จะได้หน้าจอตามภาพด้านบน กดที่ปุ่ม OK เพื่อทำการติดตั้งต่อไป
จะได้หน้าจอตามภาพด้านบน กดที่ปุ่ม Next เพื่อทำการติดตั้งต่อไป
จะได้หน้าจอตามภาพด้านบน ตรงนี้เป็นส่วนของการสร้าง Emergency Recuse Disks ซึ่งไม่จำเป็นต้องทำก็ได้ ให้กดที่ปุ่ม Cancel เพื่อทำการติดตั้งต่อไป
จบขั้นตอนการติดตั้งโปรแกรม จะได้หน้าจอตามภาพด้านบน กดที่ปุ่ม Finish
หลังจากนั้น เมื่อเรียกใช้งานโปรแกรมครั้งแรก จะมีเมนูถามการ Register ตรงนี้ เราอาจจะทำการ Register ไปเลยก็ได้ หรืออาจจะทำภายหลัง ในที่นี้ ขอแนะนำให้ทำการ Register ไปเลย โดยการใส่ชื่อและอีเมล์ของคุณ หรือถ้าหากไม่ต้องการใช้ชื่อจริง ก็อาจจะใส่ชื่อและอีเมล์อะไรก็ได้ลงไปครับ และกดที่ปุ่ม Register Now
เมื่อเสร็จสิ้นการติดตั้งโปรแกรม จะมีเมนูถามให้ทำการ Restart เครื่องคอมพิวเตอร์อีกครั้ง ก็กดที่ปุ่ม OK เพื่อทำการ Restart เครื่องคอมพิวเตอร์ใหม่ เท่านี้เป็นอันเสร็จทุกขั้นตอนการติดตั้ง PC-Cillin 2000 สำหรับป้องกันไวรัสคอมพิวเตอร์ และอย่าลืมว่า เราควรจะทำการอัพเดตข้อมูลของ ไวรัส บ่อย ๆ ด้วยเพื่อให้โปรแกรมรู้จักกับไวรัส ชนิดใหม่ ๆ ได้ด้วยนะครับ
วันพฤหัสบดีที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2554
บทที่10 การบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์
การดูแลรักษา อายุการใช้งานของอุปกรณ์/ชิ้นส่วนต่างๆ ภายในเครื่องคอมพิวเตอร์
1.ซีพียู (CPU: Central Processing Unit)
โดยปกติซีพียูเป็นอุปกรณ์/ชิ้นส่วนที่เสียหายยากมากจากการใช้งานปกติ ซึ่งซีพียูอาจจะทำงานได้นานมากจนเราเลิกใช้เครื่องไปเลย แต่ถ้าเราโชคร้ายโดยถูกผู้ผลิตนำซีพียูทีมีความเร็วต่ำมาหลอกขายว่าเป็นซีพียูความเร
็วสูง (CPU Remark) หรือทำการ PUSH ให้ซีพียูทำงานเร็วกว่าความเร็วที่กำหนดให้ ทำให้อายุการใช้งานของซีพียูสั้นลงกว่าปกติ อีกสาเหตุหนึ่งที่ทำให้อายุการใช้งานซีพียูสั้นลงก็คือ พัดลมระบายอากาศ (Ventilation Fan) ที่ติดตั้งอยู่ที่ชุดจ่ายไฟฟ้า (Power Supply) ของคอมพิวเตอร์เสีย ทำให้ซีพียูต้องทำงานที่ความร้อนสูงตลอดเวลา ถ้าซีพียูเสียก็ต้องซื้อใหม่อย่างเดียว ไม่สามารถทำการซ่อมหรือแก้ไขได้
2.เมนบอร์ด (Mainboard or Motherboard)
เป็นอุปกรณ์ที่มี Chip ควบคุมการทำงานของอุปกรณ์อื่นๆ ของเครื่องคอมพิวเตอร์ และเป็นทั้งตัวรับและจ่ายไฟให้กับ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์อื่นๆ บนเมนบอร์ด ซึ่งถ้ามีอุปกรณ์สำรองไฟฟ้า (UPS) ก็จะช่วยให้การทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ เป็นไปอย่างราบรื่นสม่ำเสมอ และไม่ทำให้อุปกรณ์อื่นๆ ชำรุดเสียหาย ในกรณีที่เกิดไฟตกไฟกระชากอีกด้วย
3.จอภาพ (Monitor)
จอภาพโดยทั่วไปมักจะมีอายุการใช้งานประมาณส่วนใหญ่ ประมาณ 1-3 ปี เนื่องจากหลอดภาพของแต่ละรุ่นยี่ห้อนั้น จะมีคุณภาพแตกต่างกันไปตาม แต่ละบริษัทผู้ผลิต ไม่ควรตั้งจอไว้ใกล้บริเวณที่มีสนามแม่เหล็กมากจนเกินไป และไม่ควรเช็ดหน้าจอด้วยน้ำยาหรือสารอย่างอื่นๆ ที่ไม่ได้ระบุไว้สำหรับทำความสะอาดจอภาพนั้นๆ
4.การ์ดแสดงผล (Display Card)
โดยทั่วไปการใช้งานในช่วง 1 ปีแรก มักจะไม่ค่อยมีปัญหา ส่วนใหญ่จะใช้งานไปได้ถึง 3 ปี โดยไม่มีปัญหาอะไร แต่ถ้าเราเลือกใช้การ์ดแสดงผลราคาถูก ก็อาจจะมีปัญหาบ้างในปีแรก แต่ก็ไม่มากนัก แต่ถ้าเป็นการ์ดแสดงผลยี่ห้อดังๆ จากอเมริกาที่มีราคาแพง จะมีความเร็วในการแสดงผลสูง มีลูกเล่นมากกว่า และมีการออกไดรเวอร์ออกมาอย่างต่อเนื่อง
5.เมาส์ (Mouse)
เป็นอุปกรณ์ Input ที่ใช้สำหรับป้อนข้อมูลคำสั่งเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ ภายในเม้าส์ จะประกอบไปด้วยลูกกลิ้งและฟันเฟือง ซึ่งสามารถถอดออกมาและทำความสะอาด เนื่องจากลูกกลิ้งจะสะสมเอาสิ่งสกปรกต่างๆ ไว้ภายในเม้าส ทำให้ลูกกลิ้งไม่สามารถที่จะเคลื่อนที่ไปได้โดยอิสระ
6.แป้นพิมพ์ (Keyboard)
การป้อนข้อมูลจำนวนมากทุกวัน หรือเอาแป้นพิมพ์ไปใช้เล่นเกมส์ จะพบว่าปุ่มบางปุ่มจะเสียตั้งแต่ยังไม่ครบปี อายุการใช้งานของแป้นพิมพ์จะผ่านปีแรกและปีที่สองไปได้ อย่างสบาย แต่ถ้าแป้นพิมพ์เกิดเสียหลังจากปีแรก ซึ่งเลยระยะรับประกันแล้ว ไม่ควรซ่อม ให้ซื้อใหม่จะดีกว่า นอกจากนี้ยังมีแป้นพิมพ์ที่มีราคาแพงเกินหนึ่งพันบาทขึ้นไป เช่น ไมโครซอฟต์คีย์บอร์ด หรือคีย์บอร์ดของไอบีเอ็ม แป้นพิมพ์เหล่านี้จะมีรูปทรงถูกสุขลักษณะ ไม่ทำให้เกิดอาการปวดเมื่อยข้อมือ มีความทนทานสูงและตอบสนองต่อการกดแป้นพิมพ์จะดีกว่าแป้นพิมพ์ราคาถูก
7.ฮาร์ดดิสก์ (Harddisk)
ฮาร์ดดิสก์เป็นหน่วยความจำสำรอง หรือสื่อบันทึกข้อมูลภายนอกที่มีความจุสูง ฮาร์ดดิสก์จะถูก
บรรจุอยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ให้อยู่แล้ว ฮาร์ดดิสก์ในสมัยเริ่มแรกมีความจุเพียง 20-80เมกะไบต์ และต่อมาฮาร์ดดิสก์ได้พัฒนาให้มีความจุสูงขึ้น และมีความเร็วในการเข้าถึงข้อมูลที่สูงขึ้นด้วย ซึ่งในปัจจุบันฮาร์ดดิสก์ที่มีขายทั่วไปในท้องตลาดมีความจุมากกว่า 1 กิกะไบต์ทั้งสิ้น และมักจะมีอายุการประกันตั้งแต่ 1-3 ปี ซึ่งเมื่อฮาร์ดดิสก์เสียในช่วงเวลาดังกล่าว ก็ต้องส่งไปซ่อมกับร้านที่ซื้อมา โดยทั่วไปฮาร์ดดิสก์จะมีอายุการใช้งานอย่างต่ำ 3 ปี แต่อย่างไรก็ตาม ฮาร์ดดิสก์ก็อาจจะเสียได้ตลอดเวลา ดังนั้น เราควรสำรองข้อมูลในฮาร์ดดิสก์เอาไว้อย่างสม่ำเสมอ เพื่อเวลาที่ฮาร์ดิสก์เสีย ข้อมูลก็จะยังไม่สูญหายไป ข้อควรระวังก็คือ ในเรื่องของไฟตกไฟชากซึ่งจะมีผลต่อ Harddisk อาจทำให้เกิดความเสียหายได้
8.ดิสก์ไดร์ฟ (Disk Drive)
ดิสก์ไดร์ฟ เป็นอุปกรณ์ที่ใช้อ่านและเขียนข้อมูลลงในแผ่นฟลอปปีดิสก์ ซึ่งดิสก์ไดร์ฟก็มีหลายชนิด
แต่ในปัจจุบันเครื่องคอมพิวเตอร์ทั่วๆไปมักจะใช้ดิสก์ไดร์ฟขนาด 3.5 นิ้ว การใช้งานดิสก์ไดร์ฟโดยทั่วไปไม่ค่อยมีปัญหาเท่าไรนัก ถ้าผ่านปีแรกไปได้แล้วก็มักจะผ่านไปถึงปีที่ 3 ถ้าหากว่าดิสก์ไดร์ฟเสียในช่วงปีแรกก็สามารถส่งซ่อมหรือเปลี่ยนใหม่ แต่ถ้าเสียหลังจากปีแรกแล้ว ก็ควรที่จะซื้อเปลี่ยนใหม่ เพราะถ้าซ่อมจะไม่คุ้มค่า เพราะราคาดิสก์ไดร็ฟในปัจจุบันมีราคาถูกมาก
9.พัดลมระบายความร้อน
เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ประกอบภายในประเทศ มักจะใช้พัดลมระบายความร้อนที่มีราคาถูก และจะ
พบว่าส่วนใหญ่พัดลมจะเสียภายในเวลาไม่กี่เดือนเท่านั้น มีอยู่น้อยมากที่จะผ่านปีแรกไปได้โดยไม่เสีย พัดลมระบายความร้อนที่ใช้งานได้ดี ก็คงเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์รุ่นเพนเทียมรุ่นที่มีพัดลมติดมาด้วย การเลือกใช้พัดลมระบายความร้อนต้องพยายามใช้ของดีมียี่ห้อ เพราะถ้าพัดลมระบายความร้อนเสีย จะทำให้ซีพียูร้อนจัด ทำให้เครื่องเกิดอาการแฮงก์ (Hang) โดยไม่ทราบสาเหตุ และทำให้อายุการใช้งานของซีพียูสั้นลง ถ้าพัดลมระบายความร้อนเสียต้องเปลี่ยนอย่างเดียว
10.ซีดีรอมไดร์ฟ (CD-Rom Drive)
ในปัจจุบันเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่มักจะเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ในระบบมัลติมีเดีย
หรือเป็นสื่อผสม ซึ่งจะต้องใช้สื่อบันทึกข้อมูลที่สามารถบันทึกข้อมูลได้มากขึ้น ซึ่งจะมีข้อมูลทั้งภาพและเสียง ดังนั้น แผ่นซีดีรอมจึงเป็นที่นิยมใช้กันอย่างแพร่หลาย เมื่อมีแผ่นซีดีรอมเครื่องคอมพิวเตอร์ก็จะต้องมีเครื่องผ่านแผ่นซีดีรอมที่เรียกว่า ซีดีรอมไดร์ฟ ข้อควรระวังก็คือ ไม่ควรนำแผ่นซีดี ที่เสียแล้ว หรือมีรอยขีดข่วนมากๆ มาอ่าน เพราะอาจทำให้หัวอ่านชำรุดได้ รวมถึงการใช้น้ำยาล้างหัวอ่านผิดประเภทด้วย
ใช้น้ำยาทำความสะอาดสำหรับเครื่องคอมฯ เช็ด บริเวณด้านนอก โดยอาจใช้พู่กันเล็กๆ ช่วยในการปัดฝุ่นออกเสียก่อน จากนั้นจึงใช้น้ำยาทำความสะอาดเช็คเครื่องคอมฯ ข้อควรระวัง! โดยปกติน้ำยาเหล่านี้ ห้ามเช็คหน้าจอ ถ้ามีฝุ่นหรือคราบนิ้วมือ ให้ใช้ผ้าสะอาดเช็ดก็เพียงพอแล้ว (ทิป น้ำยาทำความสะอาด โดยทั่วไป การใช้ควรใส่น้ำยาบนผ้าที่สะอาด จากนั้นลูบไปบริเวณตัวเครื่อง ทิ้งไว้สักพัก และค่อยเช็ดออก จะช่วยลดแรงในการขัดได้มาก)
มาดูการทำความสะอาดภายในเครื่องคอมพิวเตอร์บางคับ
สำรองข้อมูล
เพื่อเป็นการป้องกันปัญหาของคอมพิวเตอร์ ที่อาจเกิดขึ้นได้ทุกขณะ การสำรองข้อมูลอย่างสม่ำเสมอ จะช่วยลดปัญหาของคุณได้มากทีเดียว การสำรองข้อมูลอาจสำรองลงแผ่น ดิสก์, ซีดี หรืออาจแบ่ง partition ในฮาร์ดดิกส์ แล้วทำรองไว้ ทั้งนี้คงขึ้นกับกำลังเงินที่เรามีอยู่
ทำความสะอาดแผงวงจร
ปัญหาอย่างหนึ่งที่สำคัญที่ทำให้คอมพิวเตอร์เกิดเสียหายได้ นั่นคือ ความชื้นและฝุ่นละอองที่เกาะตามอุปกรณ์ต่าง ๆ ดังนั้น เราจึงควรทำความสะอาดบ้างอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง ทั้งนี้ขึ้นกับสถานที่ที่ติดตั้งคอมฯ ว่าอยู่ในพื้นที่ที่มีฝุ่นละอองมากน้อยเพียงใด การทำความสะอาด จำเป็นต้องต้องเปิดฝาเครื่อง จากนั้นให้ใช้เครื่องเป่าผม หรือเครื่องดูดฝุ่น (ขนาดเล็ก) ใช้เป่า หรือดูดฝุ่นออกมา ระวังเวลาดูดหรือเปล่า อย่าเข้าใกล้แผงวงจรมากนัก
ตรวจสอบฮาร์ดดิสก์
ฮาร์ดดิสก์เป็นอุปกรณ์ที่ในการจัดเก็บข้อมูลและโปรแกรมที่ถูกใช ้งานมากที่สุด ดังนี้เราจึงควรมีการตรวจสอบ ฮาร์ดดิสก์เป็นประจำอยู่เสมอ โดยใช้โปรแกรมตรวจสอบ เช่น ลบขยะภายในเครื่อง Disk Cleanup, ตรวจสอบดิสก์ Scandisk และ จัดเรียงข้อมูลในดิสก์ Disk Defregment (อย่างน้อยเดือนละครั้ง)
1.ซีพียู (CPU: Central Processing Unit)
โดยปกติซีพียูเป็นอุปกรณ์/ชิ้นส่วนที่เสียหายยากมากจากการใช้งานปกติ ซึ่งซีพียูอาจจะทำงานได้นานมากจนเราเลิกใช้เครื่องไปเลย แต่ถ้าเราโชคร้ายโดยถูกผู้ผลิตนำซีพียูทีมีความเร็วต่ำมาหลอกขายว่าเป็นซีพียูความเร
็วสูง (CPU Remark) หรือทำการ PUSH ให้ซีพียูทำงานเร็วกว่าความเร็วที่กำหนดให้ ทำให้อายุการใช้งานของซีพียูสั้นลงกว่าปกติ อีกสาเหตุหนึ่งที่ทำให้อายุการใช้งานซีพียูสั้นลงก็คือ พัดลมระบายอากาศ (Ventilation Fan) ที่ติดตั้งอยู่ที่ชุดจ่ายไฟฟ้า (Power Supply) ของคอมพิวเตอร์เสีย ทำให้ซีพียูต้องทำงานที่ความร้อนสูงตลอดเวลา ถ้าซีพียูเสียก็ต้องซื้อใหม่อย่างเดียว ไม่สามารถทำการซ่อมหรือแก้ไขได้
2.เมนบอร์ด (Mainboard or Motherboard)
เป็นอุปกรณ์ที่มี Chip ควบคุมการทำงานของอุปกรณ์อื่นๆ ของเครื่องคอมพิวเตอร์ และเป็นทั้งตัวรับและจ่ายไฟให้กับ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์อื่นๆ บนเมนบอร์ด ซึ่งถ้ามีอุปกรณ์สำรองไฟฟ้า (UPS) ก็จะช่วยให้การทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ เป็นไปอย่างราบรื่นสม่ำเสมอ และไม่ทำให้อุปกรณ์อื่นๆ ชำรุดเสียหาย ในกรณีที่เกิดไฟตกไฟกระชากอีกด้วย
3.จอภาพ (Monitor)
จอภาพโดยทั่วไปมักจะมีอายุการใช้งานประมาณส่วนใหญ่ ประมาณ 1-3 ปี เนื่องจากหลอดภาพของแต่ละรุ่นยี่ห้อนั้น จะมีคุณภาพแตกต่างกันไปตาม แต่ละบริษัทผู้ผลิต ไม่ควรตั้งจอไว้ใกล้บริเวณที่มีสนามแม่เหล็กมากจนเกินไป และไม่ควรเช็ดหน้าจอด้วยน้ำยาหรือสารอย่างอื่นๆ ที่ไม่ได้ระบุไว้สำหรับทำความสะอาดจอภาพนั้นๆ
4.การ์ดแสดงผล (Display Card)
โดยทั่วไปการใช้งานในช่วง 1 ปีแรก มักจะไม่ค่อยมีปัญหา ส่วนใหญ่จะใช้งานไปได้ถึง 3 ปี โดยไม่มีปัญหาอะไร แต่ถ้าเราเลือกใช้การ์ดแสดงผลราคาถูก ก็อาจจะมีปัญหาบ้างในปีแรก แต่ก็ไม่มากนัก แต่ถ้าเป็นการ์ดแสดงผลยี่ห้อดังๆ จากอเมริกาที่มีราคาแพง จะมีความเร็วในการแสดงผลสูง มีลูกเล่นมากกว่า และมีการออกไดรเวอร์ออกมาอย่างต่อเนื่อง
5.เมาส์ (Mouse)
เป็นอุปกรณ์ Input ที่ใช้สำหรับป้อนข้อมูลคำสั่งเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ ภายในเม้าส์ จะประกอบไปด้วยลูกกลิ้งและฟันเฟือง ซึ่งสามารถถอดออกมาและทำความสะอาด เนื่องจากลูกกลิ้งจะสะสมเอาสิ่งสกปรกต่างๆ ไว้ภายในเม้าส ทำให้ลูกกลิ้งไม่สามารถที่จะเคลื่อนที่ไปได้โดยอิสระ
6.แป้นพิมพ์ (Keyboard)
การป้อนข้อมูลจำนวนมากทุกวัน หรือเอาแป้นพิมพ์ไปใช้เล่นเกมส์ จะพบว่าปุ่มบางปุ่มจะเสียตั้งแต่ยังไม่ครบปี อายุการใช้งานของแป้นพิมพ์จะผ่านปีแรกและปีที่สองไปได้ อย่างสบาย แต่ถ้าแป้นพิมพ์เกิดเสียหลังจากปีแรก ซึ่งเลยระยะรับประกันแล้ว ไม่ควรซ่อม ให้ซื้อใหม่จะดีกว่า นอกจากนี้ยังมีแป้นพิมพ์ที่มีราคาแพงเกินหนึ่งพันบาทขึ้นไป เช่น ไมโครซอฟต์คีย์บอร์ด หรือคีย์บอร์ดของไอบีเอ็ม แป้นพิมพ์เหล่านี้จะมีรูปทรงถูกสุขลักษณะ ไม่ทำให้เกิดอาการปวดเมื่อยข้อมือ มีความทนทานสูงและตอบสนองต่อการกดแป้นพิมพ์จะดีกว่าแป้นพิมพ์ราคาถูก
7.ฮาร์ดดิสก์ (Harddisk)
ฮาร์ดดิสก์เป็นหน่วยความจำสำรอง หรือสื่อบันทึกข้อมูลภายนอกที่มีความจุสูง ฮาร์ดดิสก์จะถูก
บรรจุอยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ให้อยู่แล้ว ฮาร์ดดิสก์ในสมัยเริ่มแรกมีความจุเพียง 20-80เมกะไบต์ และต่อมาฮาร์ดดิสก์ได้พัฒนาให้มีความจุสูงขึ้น และมีความเร็วในการเข้าถึงข้อมูลที่สูงขึ้นด้วย ซึ่งในปัจจุบันฮาร์ดดิสก์ที่มีขายทั่วไปในท้องตลาดมีความจุมากกว่า 1 กิกะไบต์ทั้งสิ้น และมักจะมีอายุการประกันตั้งแต่ 1-3 ปี ซึ่งเมื่อฮาร์ดดิสก์เสียในช่วงเวลาดังกล่าว ก็ต้องส่งไปซ่อมกับร้านที่ซื้อมา โดยทั่วไปฮาร์ดดิสก์จะมีอายุการใช้งานอย่างต่ำ 3 ปี แต่อย่างไรก็ตาม ฮาร์ดดิสก์ก็อาจจะเสียได้ตลอดเวลา ดังนั้น เราควรสำรองข้อมูลในฮาร์ดดิสก์เอาไว้อย่างสม่ำเสมอ เพื่อเวลาที่ฮาร์ดิสก์เสีย ข้อมูลก็จะยังไม่สูญหายไป ข้อควรระวังก็คือ ในเรื่องของไฟตกไฟชากซึ่งจะมีผลต่อ Harddisk อาจทำให้เกิดความเสียหายได้
8.ดิสก์ไดร์ฟ (Disk Drive)
ดิสก์ไดร์ฟ เป็นอุปกรณ์ที่ใช้อ่านและเขียนข้อมูลลงในแผ่นฟลอปปีดิสก์ ซึ่งดิสก์ไดร์ฟก็มีหลายชนิด
แต่ในปัจจุบันเครื่องคอมพิวเตอร์ทั่วๆไปมักจะใช้ดิสก์ไดร์ฟขนาด 3.5 นิ้ว การใช้งานดิสก์ไดร์ฟโดยทั่วไปไม่ค่อยมีปัญหาเท่าไรนัก ถ้าผ่านปีแรกไปได้แล้วก็มักจะผ่านไปถึงปีที่ 3 ถ้าหากว่าดิสก์ไดร์ฟเสียในช่วงปีแรกก็สามารถส่งซ่อมหรือเปลี่ยนใหม่ แต่ถ้าเสียหลังจากปีแรกแล้ว ก็ควรที่จะซื้อเปลี่ยนใหม่ เพราะถ้าซ่อมจะไม่คุ้มค่า เพราะราคาดิสก์ไดร็ฟในปัจจุบันมีราคาถูกมาก
9.พัดลมระบายความร้อน
เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ประกอบภายในประเทศ มักจะใช้พัดลมระบายความร้อนที่มีราคาถูก และจะ
พบว่าส่วนใหญ่พัดลมจะเสียภายในเวลาไม่กี่เดือนเท่านั้น มีอยู่น้อยมากที่จะผ่านปีแรกไปได้โดยไม่เสีย พัดลมระบายความร้อนที่ใช้งานได้ดี ก็คงเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์รุ่นเพนเทียมรุ่นที่มีพัดลมติดมาด้วย การเลือกใช้พัดลมระบายความร้อนต้องพยายามใช้ของดีมียี่ห้อ เพราะถ้าพัดลมระบายความร้อนเสีย จะทำให้ซีพียูร้อนจัด ทำให้เครื่องเกิดอาการแฮงก์ (Hang) โดยไม่ทราบสาเหตุ และทำให้อายุการใช้งานของซีพียูสั้นลง ถ้าพัดลมระบายความร้อนเสียต้องเปลี่ยนอย่างเดียว
10.ซีดีรอมไดร์ฟ (CD-Rom Drive)
ในปัจจุบันเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่มักจะเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ในระบบมัลติมีเดีย
หรือเป็นสื่อผสม ซึ่งจะต้องใช้สื่อบันทึกข้อมูลที่สามารถบันทึกข้อมูลได้มากขึ้น ซึ่งจะมีข้อมูลทั้งภาพและเสียง ดังนั้น แผ่นซีดีรอมจึงเป็นที่นิยมใช้กันอย่างแพร่หลาย เมื่อมีแผ่นซีดีรอมเครื่องคอมพิวเตอร์ก็จะต้องมีเครื่องผ่านแผ่นซีดีรอมที่เรียกว่า ซีดีรอมไดร์ฟ ข้อควรระวังก็คือ ไม่ควรนำแผ่นซีดี ที่เสียแล้ว หรือมีรอยขีดข่วนมากๆ มาอ่าน เพราะอาจทำให้หัวอ่านชำรุดได้ รวมถึงการใช้น้ำยาล้างหัวอ่านผิดประเภทด้วย
ใช้น้ำยาทำความสะอาดสำหรับเครื่องคอมฯ เช็ด บริเวณด้านนอก โดยอาจใช้พู่กันเล็กๆ ช่วยในการปัดฝุ่นออกเสียก่อน จากนั้นจึงใช้น้ำยาทำความสะอาดเช็คเครื่องคอมฯ ข้อควรระวัง! โดยปกติน้ำยาเหล่านี้ ห้ามเช็คหน้าจอ ถ้ามีฝุ่นหรือคราบนิ้วมือ ให้ใช้ผ้าสะอาดเช็ดก็เพียงพอแล้ว (ทิป น้ำยาทำความสะอาด โดยทั่วไป การใช้ควรใส่น้ำยาบนผ้าที่สะอาด จากนั้นลูบไปบริเวณตัวเครื่อง ทิ้งไว้สักพัก และค่อยเช็ดออก จะช่วยลดแรงในการขัดได้มาก)
มาดูการทำความสะอาดภายในเครื่องคอมพิวเตอร์บางคับ
สำรองข้อมูล
เพื่อเป็นการป้องกันปัญหาของคอมพิวเตอร์ ที่อาจเกิดขึ้นได้ทุกขณะ การสำรองข้อมูลอย่างสม่ำเสมอ จะช่วยลดปัญหาของคุณได้มากทีเดียว การสำรองข้อมูลอาจสำรองลงแผ่น ดิสก์, ซีดี หรืออาจแบ่ง partition ในฮาร์ดดิกส์ แล้วทำรองไว้ ทั้งนี้คงขึ้นกับกำลังเงินที่เรามีอยู่
ทำความสะอาดแผงวงจร
ปัญหาอย่างหนึ่งที่สำคัญที่ทำให้คอมพิวเตอร์เกิดเสียหายได้ นั่นคือ ความชื้นและฝุ่นละอองที่เกาะตามอุปกรณ์ต่าง ๆ ดังนั้น เราจึงควรทำความสะอาดบ้างอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง ทั้งนี้ขึ้นกับสถานที่ที่ติดตั้งคอมฯ ว่าอยู่ในพื้นที่ที่มีฝุ่นละอองมากน้อยเพียงใด การทำความสะอาด จำเป็นต้องต้องเปิดฝาเครื่อง จากนั้นให้ใช้เครื่องเป่าผม หรือเครื่องดูดฝุ่น (ขนาดเล็ก) ใช้เป่า หรือดูดฝุ่นออกมา ระวังเวลาดูดหรือเปล่า อย่าเข้าใกล้แผงวงจรมากนัก
ตรวจสอบฮาร์ดดิสก์
ฮาร์ดดิสก์เป็นอุปกรณ์ที่ในการจัดเก็บข้อมูลและโปรแกรมที่ถูกใช ้งานมากที่สุด ดังนี้เราจึงควรมีการตรวจสอบ ฮาร์ดดิสก์เป็นประจำอยู่เสมอ โดยใช้โปรแกรมตรวจสอบ เช่น ลบขยะภายในเครื่อง Disk Cleanup, ตรวจสอบดิสก์ Scandisk และ จัดเรียงข้อมูลในดิสก์ Disk Defregment (อย่างน้อยเดือนละครั้ง)
บทที่11 การติดตั้งหน่วยความจำ แรม
1. เตรียมแรมที่จะติดตั้งลงในสล็อตและมองหาตำแหน่งสล็อต
บนเมนบอร์ด
2. วางแรมให้ถูกด้านโดยให้รอยบากตรงกับคันล็อก ในช่องเสียบ(สล็อต)
3. ดันแรมลงไปตรง ๆ จนสุด ซึ่งจะสังเกตเห็นว่า แขนล็อค
กระดกกลับมาล็อคปลายแรมทั้งสองข้างพอดี
บนเมนบอร์ด
2. วางแรมให้ถูกด้านโดยให้รอยบากตรงกับคันล็อก ในช่องเสียบ(สล็อต)
3. ดันแรมลงไปตรง ๆ จนสุด ซึ่งจะสังเกตเห็นว่า แขนล็อค
กระดกกลับมาล็อคปลายแรมทั้งสองข้างพอดี
บทที่12 การติดตั้งฮาร์ดดิสก์
การติดตั้งฮาร์ดดิสก์
1. เตรียม ฮาร์ดดิสก์ไว้สำหรับติดตั้ง
2. ด้านหลังฮาร์ดิสก์ ต้องกำหนดจัมเปอร์ให้ถูกต้อง
ก่อนการติดตั้ง แต่โดยส่วนใหญ่จะถูกกำหนดเป็น Masterในฮาร์ดดิสก์
ตัวแรก
3. ใส่ฮาร์ดดิสก์เข้าไปในช่องบรรจุไดร์ฟและดันเข้าไปให้สุด
โดยให้สังเกตที่ด้านข้างตัวฮาร์ดดิสก์ ว่ารูสำหรับขันน็อตตรงกับรูของช่อง
บรรจุไดร์ฟ
4. ขันยึดน็อตเพื่อยึดฮาร์ดดิสก์เข้ากับตัวเคสให้แน่น โดยให้ขันยึด
ทั้งสองด้าน
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)